23/8/51

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(สัปดาห์ที่ 12)

สัปดาห์ที่ 12
ตั้งแต่วันที่ 25-29 สิงหาคม 2551
25/08/08 : คีย์ตารางอัตราค่าขนส่งด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
26/08/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix
27/08/08 : คีย์ข้อมูลเลขที่ใบสั่งจ่าย (ใบ d/p) ด้วยโปรแกรม Microsoft Word
28/08/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
29/08/08 : ตรวจเช็คเอกสารใบสั่งจ่ายปูนผ่านระบบ Unix

21/8/51

บทกลอนหวานๆ



....อาจเป็นเพราะฟ้า....

...ที่ทำให้วันเวลา...

...พาคุณมาหาฉัน...

คุณผู้หอบความ

อบอุ่นมาถึงกัน

คุณ;ผู้กอบโกย

ความผูกพัน

....มาเต็มหัวใจ.....

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(สัปดาห์ที่ 11)

สัปดาห์ที่ 11
ตั้งแต่วันที่ 18-22 สิงหาคม 2551
18/08/08 : คีย์ข้อมูลเลขที่ใบสั่งจ่าย (ใบ d/p) ด้วยโปรแกรม Microsoft Word
19/08/08 : ตรวจเช็คเอกสารใบสั่งจ่ายปูนผ่านระบบ Unix
20/08/08 : นำส่งเอกสาร
21/08/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
22/08/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix

18/8/51

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 10)

สัปดาห์ที่ 10
ตั้งแต่วันที่ 11-15 สิงหาคม 2551
11/08/08 : คีย์ตารางอัตราค่าขนส่งด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
12/08/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix
13/08/08 : คีย์ข้อมูลเลขที่ใบสั่งจ่าย (ใบ d/p) ด้วยโปรแกรม Microsoft Word
14/08/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
15/08/08 : ตรวจเช็คเอกสารใบสั่งจ่ายปูนผ่านระบบ Unix

10/8/51

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 9)

สัปดาห์ที่ 9
ตั้งแต่วันที่ 04-08 สิงหาคม 2551
04/08/08 : ติดต่อประสานงานกับฝ่ายสินเชื่อเกี่ยวกับเอกสารล่าช้า
05/08/08 : พิมพ์ memo ให้กับหัวหน้างานโดยใช้โปรแกรม Microsoft Word
06/08/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
07/08/08 : ถ่ายเอกสารใบสำคัญที่จะนำส่งให้กับฝ่ายที่ประสานงานด้วยกัน
08/08/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix,รวบรวมเอกสารข้อมูลเพื่อนำจัดเก็บ

5/8/51

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(สัปดาห์ที่ 8)

สัปดาห์ที่ 8
ตั้งแต่วันที่ 28 กรกฎาคม - 1 สิงหาคม 2551
28/07/08 : คีย์ตารางอัตราค่าขนส่งด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
29/07/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
30/07/08 : คีย์ข้อมูลเลขที่ใบสั่งจ่าย (ใบ d/p) ด้วยโปรแกรม Microsoft Word
31/07/08 : ตรวจเช็คเอกสารใบสั่งจ่ายปูนผ่านระบบ Unix
01/08/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 7)

สัปดาห์ที่ 7
ตั้งแต่วันที่ 21-25 กรกฎาคม 2551
21/0708 : คีย์ตารางอัตราค่าขนส่งด้วยโปรแกรม Microsoft Excel
22/07/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix
23/07/08 : คีย์ข้อมูลเลขที่ใบสั่งจ่าย (ใบ d/p) ด้วยโปรแกรม Microsoft Word
24/07/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
25/07/08 : ตรวจเช็คเอกสารใบสั่งจ่ายปูนผ่านระบบ Unix

28/7/51

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 6)

สัปดาห์ที่ 6
ตั้งแต่วันที่ 07-11 กรกฎาคม 2551
14/0708 : คีย์ข้อมูลเลขที่ใบสั่งจ่าย (ใบ d/p) ด้วยโปรแกรม Microsoft Word
15/07/08 : ตรวจเช็คเอกสารใบสั่งจ่ายปูนผ่านระบบ Unix
16/07/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix
17/07/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
18/07/08 : วันหยุดเข้าพรรษา

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 5)

สัปดาห์ที่ 5
ตั้งแต่วันที่ 07-11 กรกฎาคม 2551
07/07/08 : คีย์ข้อมูลเลขที่ใบสั่งจ่าย (ใบ d/p)
08/07/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix
09/07/08 : ตรวจเช็ครายงานประจำวันของผู้รับเหมาที่นำมาส่ง
10/07/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
11/07/08 : รวบรวมเอกสารข้อมูลเพื่อนำจัดเก็บ

23/7/51

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 4)

สัปดาห์ที่ 4
วันที่ 30 มิถุนายน - 4 กรกฎาคม 2551 รายละเอียดการฝึกงาน
30/06/08 : แยกประเภทเอกสารตั๋วจ่ายปูน
01/07/08 : เรียกรายงานประจำสัปดาห์
02/07/08 : คีย์ข้อมูลตารางนำส่งเอกสารโดยใช้ระบบMicrosoft word
03/07/08 : จัดการนำส่งเอกสารให้แต่ละแผนกที่ติดต่อประสานงานกัน เช่น ฝ่ายสินเชื่อ และฝ่ายขาย
04/07/08 : รวบรวมเอกสารที่นำส่งไปแล้วเก็บเข้ากล่องเอกสาร

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 3)

ตั้งแต่วันที่ 23-27 มิถุนายน 2551
23/06/08 : เรียกรายงานประจำวันด้วยระบบ Unix
24/06/08 : ตรวจเช็ครายงานประจำวันของผู้รับเหมาที่นำมาส่ง
25/06/08 : เช็คตั๋วใบเสร็จปูนที่ผู้รับเหมานำมาส่งให้ตั้งเบิก
26/06/08 : ถ่ายเอกสารใบสำคัญที่จะนำส่งให้กับฝ่ายที่ประสานงานด้วยกัน
27/06/08 : รวบรวมเอกสารข้อมูลเพื่อนำจัดเก็บ

21/7/51

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ(สัปดาห์ที่ 2)

สัปดาห์ที่ 2
รายละเอียดการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ สำหรับวันที่ 16-19 มิถุนายน 2551
16/06/08 : เรียกรายงานประจำสัปดาห์ด้วยระบบ unix
17/06/08 : พิมพ์บันทึกภายใน(memo) เชิญแต่ละฝ่ายเข้าร่วมประชุม
18/06/08 : ส่งเอกสารทาง Fax ให้กับผู้รับเหมาทุกรายที่ทำสัญญาว่าจ้างกับบริษัท
19/06/08 : คีย์ข้อมูลค่าขนส่งโดยใช้โปรแกรม Microsoft Excel
20/06/08 : จัดเก็บเอกสาร

รายละเอียดในการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ (สัปดาห์ที่ 1)

สัปดาห์ที่ 1
วันที่ 10 -13 มิถุนายน รายละเอียดการฝึกงาน
10/06/08 : เรียนรู้เกี่ยวกับเอกสารในการทำงาน
11/06/08 : แยกประเภทเอกสารตั๋วจ่ายปูน
12/06/08 : คีย์ข้อมูลตารางนำส่งเอกสารโดยใช้ระบบMicrosoft word
13/06/08 : จัดการนำส่งเอกสารให้แต่ละแผนกที่ติดต่อประสานงานกัน เช่น ฝ่ายสินเชื่อ และฝ่ายขาย

18/3/51

การทำจดหมายเวียน mail merge

การเตรียมแฟ้มข้อมูล









การทำจดหมายเวียนที่มีแฟ้มจดหมายและแฟ้มข้อมูลแล้ว
การรวมจดหมายเวียนเข้ากับข้อมูลสามารถทำใหม่ได้ทุกครั้งที่ต้อง ถ้ามีแฟ้มจดหมายและแฟ้มข้อมูลที่เคยสร้างด้วยโปรแกรม จดหมายเวียนอยู่แล้ว เพียงแต่เปิดแฟ้มจดหมาย ก็จะสามารถทำการรวมจดหมายในขั้นตอน ใส่เขตข้อมูลได้เลย
การพิมพ์ข้อมูลเพิ่มในแฟ้มข้อมูล
การพิมพ์ข้อมูลเพิ่มในแฟ้มข้อมูล สามารถทำได้ดังนี้
1. เปิดแฟ้มเอกสารหรือแฟ้มจดหมาย
2. คลิกคำสั่ง เครื่องมือ => จดหมายเวียน
3. คลิกคำสั่ง รับข้อมูล => เปิดแหล่งข้อมูล
4. เลือกแฟ้มข้อมูลที่ต้องการ
5. คลิกคำสั่ง แก้ไข
6. คลิกชื่อแฟ้มที่ปรากฎ จะปรากฎกรอบโต้ตอบ ฟอร์ม ว่างขึ้นมาให้ทำการพิมพ์ข้อมุลเพิ่ม แต่ถ้าต้องการแก้ไขข้อมูลที่มีอยู่แล้วเดิมให้คลิกปุ่มลูกศรถอยหลัง หรือเดิมหน้าทีละระเบียน หรือเดิมหน้าไปยังระเบียนแรกของแฟ้ม หรือถอยหลังไปยังระเบียนสุดท้ายของแฟ้ม
7. คลิก คำสั่ง OK



การใส่ชื่อเขตข้อมูล

1 กรอกข้อมูลต่างๆ ของผู้รับโดยต้องกรอกให้ตรงกับหัวข้อที่คุณได้กำหนดไว้
2 เมื่อกรอกข้อมูลของคนแรกเรียบร้อยให้คลิกเมาส์ ที่ปุ่ม เพิ่มใหม่ สำหรับจะกรอกข้อมูลของคนต่อไป
3 เมื่อกรอกข้อมูลครบทุกคนแล้วให้คลิกเมาส์ ที่ปุ่ม ตกลง



การใส่ชื่อ

เขตข้อมูลลงเอกสาร
1 คลิกเมาส์ ในตำแหน่งที่จะใส่ข้อมูลในจดหมาย
2 คลิกเมาส์ ที่ปุ่ม แทรกเขตข้อมูลผสาน จะปรากฎหัวข้อที่กำหนดได้ในตารางฐานข้อมูล
3 คลิกเมาส์ เลือกหัวข้อ คือ จะเป็นการแทรกชื่อ หรือข้อมูลต่างๆที่เราจะเลือกใส่ จะปรากฎหัวข้อที่คุณเลือกในจดหมาย
4 ทำข้อ 2 และ 3 ซ้ำไปเรื่อยๆ จนกว่าคุณจะกำหนดหัวข้อ ที่ต้องการเรียบร้อย



1 คลิกเมาส์ ที่ปุ่ม เพื่อกำหนดให้แสดงผลลัพธ์
2 ตรวจสอบผลลัพธ์ในจดหมายฉบับแรก3 คลิกเมาส์ ที่ปุ่ม สำหรับตรวจดูจดหมายฉบับต่อๆ

ใส่ข้อมูลของผู้รับในจดหมาย เมื่อผลลัพธ์ที่ได้ถูกต้องเป็นที่น่าพอใจแล้ว ก็ถึงเวลาที่จะกำหนดสิ่งต่างๆ ลงในจดหมายเวียนของคุณ โดยคุณสามารถเลือกว่า จะให้เก็บผลลัพธ์ที่ได้นั้นใส่ลงในเอกสารฉบับใหม่ หรือกำหนดให้พิมพ์ออกทางเครื่องพิมพ์เลยทันที ส่วนตัวแล้วมักจะใช้วิธีแรก มากกว่า คือ จะเก็บผลลัพธ์ไว้ เพราะสามารถแก้ไขในรายละเอียดบางจุดของจดหมายในแต่ละฉบับได้ การผลิตจดหมายเวียนทำได้ดังนี้
1 คลิกเมาส์ ที่ปุ่ม จะปรากฎกรอบโต้ตอบ การผสาน
2 กำหนดว่าจะให้เก็บผลลัพธ์ของจดหมายเวียนนี้ไปไว้ที่ใด โดยคลิกเมาส์ ที่ New document (สร้างเอกสาร)
- ถ้าเลือก New document คือการเก็บที่เอกสารฉบับใหม่
- ถ้าเลือก Printer คือการสั่งพิมพ์ผลลัพธ์ออกทางเครื่องพิมพ์ทันที
3 เลือกว่าจะให้ดึงข้อมูลจากตารางฐานข้อมูลใดบ้าง ดังนี้
- คลิกเมาส์ เลือก all (ทั้งหมด) คือจะดึงข้อมูลจากตารางฐานข้อมูลมาทั้งหมด
- คลิกเมาส์ เลือก from (จาก) คือ คุณจะเป็นผู้กำหนดช่วงของการดึงข้อมูล จากนั้นคุณต้องกำหนดว่าจะดึงข้อมูลลำดับที่เท่าใด ในฐานข้อมูลด้วย
4 คลิกเมาส ที่ปุ่ม ผสาน (ถ้าคุณเลือก New document คุณจะเห็นผลลัพธ์ที่ได้ในเอกสารฉบับใหม่ทันที) ก็จะได้ผลลัพธ์ก็คือ เห็นข้อมูลของผู้รับจดหมายทั้งหมดที่จะส่งออกทางจอของคุณ

ประชาสัมพันธ์


หลักสูตรคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ประวัติวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีจากหมวดวิชาวิทยาศาสตร์ของวิทยาลัยการฝึกหัดครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา ได้พัฒนามาเป็นคณะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีในปี 2527 ตาม พ.ร.บ. วิทยาลัยครู ฉบับที่ 2 ต่อมาในปี 2538 จึงได้เปลี่ยนสถานภาพมาเป็นคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตามประกาศ พ.ร.บ. สถาบันราชภัฏ ซึ่งนับได้ว่าคณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี แห่งมหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยาได้รับใช้สังคมไทยมาอย่างต่อเนื่องและยาวนาน ด้วยการผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพจำนวนมากออกไปรับใช้สังคม ปัจจุบันเปิดสอนมากกว่า 20 โปรแกรมวิชา ทั้งในระดับปริญญาตรี ปริญญาโท และปริญญาเอก

ปรัชญา
" สร้างสรรค์งานวิจัย ใส่ใจเทคโนโลยี มีวินัย ใฝ่คุณธรรม นำชาติเจริญ "
วิสัยทัศน์
เป็นผู้นำในการสร้างนักวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยี และนักวิจัย ถ่ายทอดองค์ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี เพื่อพัฒนาท้องถิ่น และสังคม
พันธกิจ
ผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ คุณธรรม และจริยธรรม ส่งเสริมการวิจัย ทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม ปรับปรุง และถ่ายทอดเทคโนโลยี บริการวิชาการแก่ชุมชน และสังคม

ห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์
ของโปรแกรมวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทั้งหมด 6 ห้อง โดยมีการปรับปรุงทางด้านฮาร์ดแวร์ และซอฟต์แวร์ ให้เป็นปัจจุบันและทันสมัยเสมอ และมีอุปกรณ์อำนวยความสะดวกทั้งกับผู้เรียนและผู้สอนอย่างครบครัน และทุกห้องสามารถเข้าสู่ระบบอินเทอร์เน็ต เพื่อการสืบค้นข้อมูลและการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารได้โดยสะดวก พร้อมทั้งได้มีอินเทอร์เน็ต แบบไร้สายอยู่ทั่วบริเวณมหาวิทยาลัยไว้สำหรับคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค ของนักศึกษา ที่นำมาประกอบการศึกษาทั้งนี้อาจารย์โปรแกรมจำวิชา ทุกท่านล้วนแต่ผู้มีวิชาความรู้ครบถ้วน
หลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ ภาคปกติ 4 ปีโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรีหลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจBachelor’s Degree Program of Business Administration in Business Computerชื่อปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer) จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ ความสามารถ ในการบริหารธุรกิจระดับ วิชาชีพ (Professional) และนำไปประกอบอาชีพได้เป็นอย่างดี
2. เพื่อผลิตบัณฑิตด้านบริหารธุรกิจที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะทางในวิชาชีพ เช่นด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ การบัญชี การเงินและการธนาคาร การตลาด การบริหารอุตสาหกรรม เลขานุการ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ การจัดการคุณภาพธุรกิจระหว่างประเทศ ธุรกิจบริการ สามารถประกอบอาชีพอย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบัณฑิตที่มีเจตคติที่ดี และทักษะเพียงพอที่จะดำเนินธุรกิจอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนาตนเองให้มีความรับผิดชอบต่อสังคม
4. เพื่อผลิตบัณฑิตที่สนองความต้องการของตลาดแรงงาน และสอดคล้องตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
5. เพื่อให้บัณฑิตสามารถนำความรู้ไปเป็นแนวทางการศึกษาในระดับสูงต่อไปโครงสร้างหลักสูตรมีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 149 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิตแต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 33 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 9 หน่วยกิต
1500101 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)
1500102 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและการสืบค้น 3(3-0)
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 9 หน่วยกิต
1500104 ความจริงของชีวิต 3(3-0)
2000102 สุรทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500102 วิถีไทย 3(3-0)2500103 วิถีโลก 3(3-0)
2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 9 หน่วยกิต
4000105 วิทยาศาสตร์เพื่อคุณภาพชีวิต 3(3-0)
4000106 การคิดและการตัดสินใจ 3(3-0)
4000107 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชีวิต 3(2-2)
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน 106 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 84 หน่วยกิตบังคับเรียน 47 หน่วยกิต
1541203 ภาษาไทยธุรกิจ 3(3-0)
1551605 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 1 3(3-0)
1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
2562302 กฎหมายธุรกิจ 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3521101 การบัญชี 1 3(2-2)35
21102 การบัญชี 2 3(2-2)
3531101 การเงินธุรกิจ 3(3-0)
3541101 หลักการตลาด 3(3-0)
3562402 การบริหารทรัพยากรมนุษย์ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 2(2-0)
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค 1 3(3-0)
3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค 1 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
4112105 สถิติธุรกิจ 3(3-0)(2) แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 37 หน่วยกิต
2.1 บังคับเรียน 18 หน่วยกิต
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)4
122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
2.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 19 หน่วยกิต [เรียน 7 วิชา]
3501201 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 1 3(2-2)
3501202 การใช้งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่องานเอกสารธุรกิจ 2 3(2-2)
3502201 ระบบสารสนเทศเพื่อการดำเนินงาน 3(2-2)
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504203 ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ 3(2-2)
3504204 ระบบสารสนเทศสำหรับผู้บริหาร 3(2-2)
3534106 โปรแกรมประยุกต์ทางการเงิน 3(3-0)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3563204 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3564908 สัมมนาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
34121401 ระบบปฎิบัติการ 1 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122304 โปรแกรมภาษาซี 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123303 โปรแกรมภาษาปาสคาล 2 3(2-2)
4123304 โปรแกรมภาษาแอสเซมบลี 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123617 การประยุกต์ใช้งานมัลติมีเดีย 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)
(3) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 15 หน่วยกิต
3532202 การภาษีอากรธุรกิจ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3561101 องค์การและการจัดการ 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
3524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาปฏิบัติการและฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 7 หน่วยกิต
3503813 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 2(90)
3504804 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพการบริหารธุรกิจ 3 5(350)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 10 หน่วยกิตให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์การสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชานี้ คอมพิวเตอร์ธุรกิจ 2 ปี หลังอนุปริญญาโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ ระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา)
หลักสูตรโปรแกรมวิชาการบริหารธุรกิจ แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจBachelor of Business Administration Program in Business Computerชื่อ ปริญญา ชื่อเต็ม : ปริญญาการบริหารธุรกิจบัณฑิต (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)Bachelor of Business Administration (Business Computer)ชื่อย่อ : บธ.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ)B.B.A. (Business Computer)
จุดประสงค์เฉพาะ
1. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถในการบริหารธุรกิจระดับวิชาชีพ (Professional) ในวิชาบริหารธุรกิจเฉพาะทาง ในวิชาการด้านต่าง ๆ ที่สามารถนำไปประกอบอาชีพได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีความรู้ความเข้าใจในระบบเศรษฐกิจและสังคม สามารถนำไปใช้ในการตัดสินใจ ดำเนินธุรกิจได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เพื่อผลิตบุคลากรที่สามารถติดตามและปรับตัวให้เข้ากับสภาพการเปลี่ยนแปลง ความก้าวหน้าในเทคโนโลยีฯ และการบริหารธุรกิจในงานอาชีพ
4. เพื่อผลิตบุคลากรที่มีเจตคติและค่านิยมในการประกอบอาชีพอิสระอย่างมีคุณภาพ จริยธรรม และปัญญาธรรมโครงสร้างหลักสูตรมีหน่วยกิตการเรียนตลอดหลักสูตรในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจไม่น้อยกว่า 73 หน่วยกิต และมีสัดส่วนหน่วยกิต แต่ละหมวดวิชาและแต่ละกลุ่มวิชา ดังนี้
1. หมวดวิชาการศึกษาทั่วไป 18 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาภาษาและการสื่อสาร 3 หน่วยกิต
1500103 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารและทักษะการเรียน 3(3-0)
(2) กลุ่มวิชามนุษยศาสตร์ 6 หน่วยกิต
2500101 พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน 3(3-0)
2000101 สุนทรียภาพของชีวิต 3(3-0)
(3) กลุ่มวิชาสังคมศาสตร์ เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
2500103 วิถีโลก 3(3-0)และ/หรือ2500104 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0)
(4) กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรียนไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต แต่ไม่เกิน 6 หน่วยกิต4000102 การคิดและการตัดสินใจ 3(2-2)และ/หรือ4000108 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 3(2-2)
2. หมวดวิชาเฉพาะด้าน (แขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ) 49 หน่วยกิต
(1) กลุ่มวิชาเนื้อหา 35 หน่วยกิต
1.1 บังคับเรียน 24 หน่วยกิต1551606 ภาษาอังกฤษธุรกิจ 2 3(3-0)
3503901 การวิจัยทางธุรกิจ 3(2-2)
3504101 จริยธรรมทางธุรกิจ 3(3-0)
3564201 การจัดการเชิงกลยุทธ์ 3(3-0)
3593301 การวิเคราะห์เชิงปริมาณ 3(3-0)
3503201 การจัดระบบเครือข่ายและการสื่อสารข้อมูลธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122502 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1 3(2-2)
4121202 การเขียนโปรแกรมภาษาคอมพิวเตอร์ 1 3(2-2)
1.2 เลือกเรียน ให้เลือกเรียนรายวิชาต่อไปนี้ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
3503202 การจัดการงานเลขานุการและธุรการด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3503203 การประมวลผลการวิจัยทางธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504201 การจัดการของคงคลังด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3504202 การวางระบบบัญชีด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
3562104 การจัดการธุรกิจด้วยคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
35694908 การสัมมนาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4091606 คณิตศาสตร์สำหรับคอมพิวเตอร์ 3(3-0)
4121103 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์และอัลกอริทึ่ม 3(2-2)
4121301 โปรแกรมภาษาเบสิก 1 3(2-2)
4121302 โปรแกรมภาษาโคบอล 1 3(2-2)
4122201 ฐานข้อมูลเบื้องต้น 3(2-2)
4122202 โครงสร้างข้อมูล 3(2-2)
4122203 การประมวลผลแฟ้มข้อมูล 3(2-2)
4122401 ภาษาคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4122602 โปรแกรมประยุกต์ด้านการจัดการสำนักงานอัตโนมัติ 3(2-2)
4122603 คอมพิวเตอร์กราฟิก 3(2-2)
4122606 โปรแกรมประยุกต์ด้านระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร 3(2-2)
4122701 ระบบคอมพิวเตอร์และสถาปัตยกรรม 3(2-2)
4123601 โปรแกรมประยุกต์ด้านสถิติและวิจัย 1 3(2-2)
4123603 โปรแกรมประยุกต์ด้านการเงินและการบัญชี 3(2-2)
4123604 โปรแกรมประยุกต์ด้านการควบคุมสินค้า 3(2-2)
4123605 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานทะเบียนบุคคลและการจ่ายเงินเดือน 3(2-2)
4123607 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในงานธุรกิจ 3(2-2)
4123611 การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในด้านการธนาคาร 3(2-2)
4123612 คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 3(2-2)
4123613 คอมพิวเตอร์ช่วยออกแบบ 3(2-2)
4123615 โปรแกรมประยุกต์ด้านงานธุรการ 3(2-2)
4123619 การประยุกต์ใช้มัลติมีเดีย 3(2-2)
4123702 ระบบการสื่อสารข้อมูล 3(2-2)
4123903 หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ 3(2-2)
4124501 ปัญญาประดิษฐ์ 3(2-2)ข้อกำหนดเฉพาะ1) ในกรณีเคยเรียนรายวิชาบังคับในระดับอนุปริญญาตามหลักสูตรของสถาบันราชภัฏแล้วให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจตาม 1.2 แทน2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชาต่อไปนี้
3592101 เศรษฐศาสตร์จุลภาค
1 3592102 เศรษฐศาสตร์มหภาค
13521101 การบัญชี
1 3521102 การบัญชี
24112105 สถิติธุรกิจ
3531101 การเงินธุรกิจ
3541101 หลักการตลาด
ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวม ในเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ใน ข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
(2) กลุ่มวิชาวิทยาการจัดการบังคับเรียน 9 หน่วยกิต3
524301 การบัญชีเพื่อการจัดการ 3(3-0)
3543101 การบริหารการตลาด 3(3-0)
3562307 การบริหารการผลิต 3(3-0)
ข้อกำหนดเฉพาะ1) ผู้ที่เรียนแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในระดับปริญญาตรี (หลังอนุปริญญา) ต้องผ่านการศึกษารายวิชาคอมพิวเตอร์ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต2) ผู้ที่ไม่เคยเรียนรายวิชา 3561101 องค์การและการจัดการ และ 3532202 การภาษีอากรธุรกิจ ให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมในเกณฑ์กาสำเร็จการศึกษา
3) สำหรับผู้ที่เคยสอบได้รายวิชาที่มีเนื้อหาเทียบเท่าหรือเคยสอบได้รายวิชาที่สูงกว่ารายวิชาที่กำหนดไว้ในข้อ 2) มาแล้วในระดับอนุปริญญาหรือเทียบเท่าให้ยกเว้นไม่ต้องเรียน
4) กรณีที่เคยเรียนรายวิชาบังคับของกลุ่มวิทยาการจัดการมาแล้วในระดับอนุปริญญา ให้เลือกเรียนรายวิชาเลือกในแขนงวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจที่กำหนดไว้ใน 1.2 แทน
(3) กลุ่มวิชาเตรียมฝึกประสบการณ์และฝึกประสบการณ์วิชาชีพ 5 หน่วยกิต
3503811 การเตรียมฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 2(90)
3504808 การฝึกประสบการณ์วิชาชีพบริหารธุรกิจ 2 3(210)
3. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิตให้เลือกเรียนรายวิชาใด ๆ ในหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยไม่ซ้ำกับรายวิชาที่เคยเรียนมาแล้ว และต้องไม่เป็นรายวิชาที่กำหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตรวมเป็นเกณฑ์ในการสำเร็จหลักสูตรของโปรแกรมวิชา

6/3/51

การสร้าง blog ด้วย blogger

Blog เป็นเครื่องมือสำหรับเขียนบันทึกเหตุการณ์ส่วนตัว ชื่อเต็มๆ มาจาก Weblog โดยคนที่เขียน blog เขาจะเรียกว่า blogger หรือ Weblogger ที่จริงแล้วจะเรียกชื่ออะไรคงไม่ได้เกี่ยวข้องกับตัวเรามากนักเอาเป็นว่าให้พอรู้จักชื่อละกัน หากท้าวความย้อนกลับไปในอดีต คนที่จะทำเว็บไซต์ส่วนตัวจะต้องศึกษาเครื่องมือเขียนเว็บอย่าง HTML หรือหากจะให้ง่ายหน่อยก็ใช้ทูลสำเร็จรูปอย่าง Dreamweaver, Frontpage ในการสร้างเว็บขึ้นมา หลังจากสร้างเสร็จจะต้องไปขอพื้นที่เว็บฟรีเพื่ออัปโหลดข้อมูลในเครื่องเราขึ้นไปเก็บอีกทีหนึ่ง จึงจะมีเว็บของตัวเองได้



สำหรับ blog ไม่เป็นเช่นนั้นผู้ใช้ไม่จำเป็นต้องนั่งเขียนโค้ด หรือนั่งสร้างเว็บเอง อีกทั้งไม่จำเป็นต้องไปขอพื้นที่เว็บฟรี ก็สามารถมีเว็บไว้บันทึกเหตุการณ์ส่วนตัวได้แล้ว อีกทั้งสามารถเปลี่ยนรูปพื้นหลัง (template) ได้ด้วย ปัจจุบัน blog กำลังได้รับความนิยมมากขึ้นเรื่อยๆ บริษัททั้งเล็ก ใหญ่ต่างก็ทำเว็บบล็อกบริการในบริษัท เพื่อให้พนักงานเขียนบล็อกส่วนตัวได้ * โดยในเนื้อหาใน Blog นั้นจะส่วนประกอบสามส่วนคือ 1.หัวข้อ (Title) 2. เนื้อหา (Post หรือ Content) 3.วันที่เขียน (Date)


ประโยชน์หลักของ blog


• เป็นศูนย์ความรู้ของบริษัท เพราะให้พนักงานแต่ละคนเขียนบล็อกส่วนตัวไว้ หากพนักงานท่านนั้นลาออกไป ความรู้ยังคงอยู่ที่บริษัทให้รุ่นน้องศึกษา


• ใช้รายงานเหตุการณ์ หรือผลการทำงานว่าแต่ละวันได้ทำอะไรบ้าง• ใช้ติดตามความคืบหน้าของงาน กรณีมีการทำงานร่วมกัน• ใช้สำหรับโชวร์ ผลงานส่วนตัว หรือไซต์ส่วนตัว

• ใช้ทำเว็บไซต์ส่วนตัว / เว็บดาราดัง (เราอาจจะเป็นแฟนพันธุ์แท้ ใครสักคนก็สามารถทำได้สบาย )

• ใช้ทำเว็บรวมสถานที่ท่องเทียวในตัวจังหวัด หรือในอำเภอเล็กๆ ตามต่างจังหวัด
• ...ตัวอย่างเว็บไซต์ ในลักษณะ Weblog

Mblog > weblog.manager.co.th
OpenTLE Blog > blog.opentle.org
Kapook Blog > http://www.kapookclub.com/
BlogGang > http://www.bloggang.com/

Exteen Blog > http://www.exteen.com/

MSDN Blogs > blogs.msdn.com
Sun Blog > blogs.sun.com
OracleAppsBlog > http://www.oracleappsblog.com/

Google Blog > googleblog.blogspot.com
IBM Developer Blog > www-106.ibm.com/developerworks/blogs

การสมัครเขียนบล็อกฟรี ที่ Blogger.com


1. เข้าสมัครสมาชิกได้ที่เว็บไซต์ http://www.blogger.com/




2. คลิกที่เริ่มสร้างบล็อกที่ CREATE YOUR BLOG NOW




3. กรอกรายละเอียดส่วนตัว ชื่อล็อกอิน / รหัสผ่าน / ชื่อบล็อก / อีเมล์เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Continue


4. ระบุรายละเอียดของบล็อกBlog title : ระบุชื่อบล็อกBlog address (URL) : ชื่อยูอาแอลสำหรับเรียกใช้งาน http://arnut.blogpot.comWorld Verification : พิมพ์รหัสที่ระบบบอกมาเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Continue




5 . ระบบจะแสดง Template ให้เลือกใช้งานหลายแบบ ให้ทำการคลิกเลือก Template ที่ต้องการเสร็จแล้วคลิกปุ่ม Continue


6 . ระบบแสดงข้อความกำลังทำการสร้าง blog ให้อยู่




7. ทำการสร้าง blog เสร็จแล้วให้คลิกปุ่ม START POSTING เพื่อทดสอบเข้าใช้งาน



8. พิมพ์รายละเอียดข้อความแรกในบล็อก หลังพิมพ์ฺเสร็จสามารถคลิก preview ดูผลก่อนได้ เสร็จแล้วคลิกปุ่ม Publish Post





9. เสร็จสิ้นการติดตั้งเว็บบล็อกให้คลิกที่ View Blog เพื่อดูผล
10. แสดงบล็อกส่วนตัวที่สร้างเสร็จแล้วสังเกต url ด้านบนจะเป็น http://arnut.blogspot.com/



11. ที่นี้กรณีที่ต้องการเขียน Blog เพิ่มเติม หรือเข้าไปแก้ไข Blog สามารถล็อกอินเข้าได้ที่http://www.blogger.com/startพิมพ์ชื่อ username / Password เสร็จแล้วคลิกปุ่ม SIGN IN เพื่อเข้าระบบ


12. จะเข้าสู่หน้าต่างผู้ดูแลบล็อกสำหรับแก้ไข และปรับแต่งข้อมูลต่างๆ ดังรูปทำการแก้ไขข้อมูลต่างๆ ตามต้องการ


สรุป ในการสร้างบล็อกนั้นสามารถทำได้สองแบบคือ

1. การติดตั้งโปรแกรมทำ Blog ขึ้นใช้งานเองสำหรับบริการพนักงานใน office เลย ตัวอย่างโปรแกรมสร้าง blog เช่น WordPress, b2evolution, Nucleus, pMachine, MyPHPblog, Movable Type, Geeklog, bBlog (วิธีนี้ท่านต้องมีเครื่องเว็บเซิร์ฟเวอร์ในการใช้งานเองอาจทำเป็น Intranet Blog หรือ Internet Blog ก็ได้)

2. การใช้งานบล็อกฟรี จากเว็บที่เปิดให้บริการ ปัจจุบันมีเว็บเปิดให้บริการหลายเว็บอาทิ เช่น Blogger.com (en), Bloglines.com (en), Exteen.com (th), Bloggang.com(th)*

ประวัติส่วนตัว


ชื่อ น.ส. อมรรัตน์ สายสุดตา
นามที่เรียกกันสั้นๆ แอน
อายุ 22 ปี
อุปนิสัย ร่าเริง เข้ากับคนได้ง่าย มีเหตุผล รักอิสระ
สถานที่ทำงาน บริษัท ทีพีไอ โพลีน จำกัด (มหาชน)
26/56 อาคารทีพีไอ ทาวเวอร์
ถ.จันทร์ตัดใหม่ เขตสาทร
กรุงเทพฯ 10120